ใครเก่งอังกฤษช่วยแปล บทคัดย่อวิจัยให้หน่อยค่าา

Association of fetal cranial shape with shoulder dystocia.

Source

Baylor College of Medicine, Department of Obstetrics and Gynecology, Houston, Texas; St. Mark's Hospital, Salt Lake City, Utah. belfort@bcm.edu.

Abstract

OBJECTIVES:

We evaluated whether fetal cranial shape was related to shoulder dystocia.

STUDY DESIGN:

We compared shoulder dystocia cases (n = 18) to controls (normal vaginal deliveries, n = 18) in a retrospective matched-pairs observational study. Subjects were matched for known maternal and fetal risk factors and then evaluated for fetal biometric differences measured by ultrasound near delivery. We tested multivariate risk models to predict shoulder dystocia by logistic regression.

RESULTS:

Cases had a shorter estimated occipitofrontal diameter (OFD) (p = 0.02) and larger biparietal diameter/estimated OFD ratio (p = 0.003). A multivariable model including estimated fetal weight, estimated OFD, maternal weight, and diabetes mellitus had a sensitivity and specificity of 86%/95%, and positive and negative likelihood ratios of 18.9/0.15. Estimated OFD significantly increased the predictive value of the model.

CONCLUSION:

Short estimated OFD is a risk factor for shoulder dystocia in the presence of other significant risk factors. A multivariable model including estimated OFD can predict shoulder dystocia in a clinically useful range. Copyright © 2011 ISUOG. Published by John Wiley & Sons, Ltd.

Discussion (4)

เฮ้ย ... ทำไมที่แปลไว้ข้างบน หายไปไหนหมด? แถม Comment ทะลุอีก อิอิอิ

ไม่เป็นไรค่ะ
เดี๋ยวเที่ยงๆ เข้ามาทำให้ใหม่ค่ะ สงสัยเพราะ Webpage ไม่รองรับ HTML Code (ประหลาด) ที่เราเขียนไว้

อยากช่วยอ่ะ แต่นี้มัน ... "ผลการวิจัยของภาควิชาสูตินารีเวช" เลยนะ
อิอิอิ แปลไปจะโดนด่ามั้ยเนอะ เอาไงดี?

 

"ความสัมพันธ์ของรูปทรงกะโหลกศีรษะทารกในครรภ์กับภาวะการคลอดยากแบบการคลอดติดไหล่" 
โดย เบลฟอร์ท เอ็ม. เอ. (Belfort MA), เลทซ์ ไวท์ จี. (Lance White G), เวอร์มัลเลน เอฟ. เอ็ม. (Vermeulen FM)

ที่มา
วิทยาลัยแพทยศาสตร์เบย์เลอร์ ภาควิชาสูตินรีเวชวิทยา, ฮูสตัน, เท็กซัส; 

โรงพยาบาลเซนต์มาร์ค, ซอลต์เลกซิตี, ยูทาห์
belfort@bcm.edu

ปริญญานิพนธ์
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วัตถุประสงค์
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เราประเมินว่า รูปทรงกะโหลกศีรษะของทารกในครรภ์นั้น มีความสัมพันธ์กับภาวะการคลอดยากแบบการคลอดติดไหล่ 


---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รูปแบบการศึกษา
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เราได้เปรียบเทียบกรณีภาวะการคลอดยากแบบแบบการคลอดติดไหล่ (n = 18) เพื่อควบคุม (การคลอดแบบปกติ, n = 18) 


---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ผลการศึกษา :
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------



---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สรุป :
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 


ลิขสิทธ์ © 2011 ISUOG จัดพิมพ์โดย บริษัท จอห์น วิลเลย์ แอนด์ ซันส์ จำกัด
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------






อันนี้เพิ่มเติมให้เองค่ะ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
  
  
 
ภาวะการคลอดยาก (Dystocia) เป็นความผิดปกติของการคลอด หรือ การเจ็บครรภ์ที่ช้า หรือ ยากกว่าปกติ ประมาณการณ์ว่าทุก 1 ใน 5 ของการเจ็บครรภ์คลอด จะเป็นการคลอดลำบาก ภาวะนี้อาจเกิดจากการทำงานไม่สัมพันธ์กันของกล้ามเนื้อมดลูก ทารกอยู่ในท่าหรือ ส่วนนำที่ผิดปกติ สัดส่วนของศีรษะทารกและเชิงกรานมารดาไม่ได้สัดส่วนกัน หรือ ที่พบน้อยมากคือ เนื้องอกของทารกในครรภ์ขนาดใหญ่ เช่น เนื้องอกวิรูปบริเวณก้นกบร่วมกระเบนเหน็บ (Sacrococcygeal Teratoma)

ภาวะการคลอดติดไหล่ (Shoulder Dystocia) เป็นการคลอดยากชนิดหนึ่ง ซึ่งไหล่หน้าของทารกไม่สามารถผ่านแนวประสานกระดูกหัวหน่าว (Pubic Symphysis) หรือ ต้องอาศัยการดึงอย่างมากเพื่อให้ไหล่ผ่านใต้แนวประสานกระดูกหัวหน่าว

ออกซีโทซิน (Oxytocin) มักใช้เป็นยาเพื่อแก้ไขการทำงานไม่สัมพันธ์กันของกล้ามเนื้อมดลูก อย่างไรก็ตามการตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนอย่างการคลอดลำบาก มักจบลงด้วยการใช้อุปกรณ์ช่วยคลอด เช่น คีม เครื่องดูดสุญญากาศ หรือ การผ่าท้องทำคลอด ภาวะแทรกซ้อนที่อาจพบได้ในการคลอดลำบาก ได้แก่ ทารกเสียชีวิต การกดการหายใจของทารก โรคสมองขาดเลือด (Hypoxic Ischaemic Encephalopathy; HIE) และเส้นประสาทในข่ายประสาทแขนบาดเจ็บ ภาวะที่สัมพันธ์กับการเพิ่มความเสี่ยงของการคลอดลำบากคือ ระยะห่างระหว่างการตั้งครรภ์แต่ละครั้งยาวนานผิดปกติ (Prolonged Interval Between Pregnancies), หญิงมีครรภ์แรก, และการตั้งครรภ์แฝด
 
 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
 
ศัพท์ทางการแพทย์เยอะเลย... (+_+)

คำเฉพาะทางหลายคำอยู่นะค่ะ แปลเรื่องอะไรอยู่เกริ่นๆได้มั้ย?
ไม่อยากจะช่วยแปลเท่าไหร่เลย เพราะเห็นมีกระทู้ให้ช่วยแปลการบ้านก่อนหน้านี้แล้วโดนดุว่าไม่แปลเอง
อยากช่วยตรวจให้มากกว่า ว่าจะแก้อะไรเพิ่มป่าว ไม่ต้องอายนะ แปลผิด แปลถูก ช่วยกันแก้ได้
หรือว่าตอนนี้แปลเสร็จแล้วเอ่ย?